แบบสำรวจเพื่อประเมินประสิทธิภาพการสื่อสารผ่านนวัตกรรมเพลง

วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินประสิทธิภาพการสื่อสารและการสร้างการรับรู้  ผ่านนวัตกรรมเพลง "ลำเพลินภัยพิบัติ" 
กลุ่มเป้าหมาย:
1) 
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)   
2) ชมรมผู้สูงวัย
3) นิสิต/นักศึกษา
4) บุคคลทั่วไป 

ผู้เสริมพลังสังคม:
ดร.ธายุกร พระบำรุง หน่วยปฏิบัติการวิจัยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การบรรเทา และการปรับตัว (CMARE) คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 

ทั้งนี้ การตอบแบบสำรวจนี้  ไม่มีผลใด ๆ  ต่อผู้กรอก 

Sign in to Google to save your progress. Learn more
เพลงลำเพลินภัยพิบัติ 
รับฟังเพลงลำเพลินภัยพิบัติ  https://www.youtube.com/watch?v=dzkljMqNMi0
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 
โปรดกรอกข้อมูลให้ครบถ้วน
1.1 อายุ *
1.2 เพศ *
1.3 อาชีพ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) *
Required
1.4 ระดับการศึกษา *
1.5 พื้นที่ที่พักอาศัยในจังหวัดมหาสารคาม *
1.6 ระยะเวลาที่อาศัยในพื้นที่  *
ส่วนที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 
กรุณากรอกข้อมูลให้ครบถ้วน
2.1 ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ท่านรู้สึกว่าผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ/สภาวะโลกร้อนมีผลต่อการดำเนินชีวิตของท่านในด้านใดบ้าง (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) *
Required
2.2 ความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ/ สภาวะโลกร้อน *
Required
ส่วนที่ 3  การรับทราบสถานะภัยพิบัติจากการรับฟังเพลงลำเพลินภัยพิบัติ
กรุณากรอกข้อมูลให้ครบถ้วน
3.1 เนื้อหาและทำนอง  *
ใช่
ไม่ใช่
ไม่ทราบ
ถ้อยคำและภาษาที่ใช้เข้าใจได้ง่าย
ทำนองเพลงที่ใช้สะท้อนศิลปวัฒนธรรมของพื้นที่
เนื้อหาของเพลงสนับสนุนการรับรู้เรื่องภัยพิบัติที่เกิดขึ้น

3.2 ท่านได้รับทราบเนื้อหาอะไรบ้างจากการสื่อสารครั้งนี้ั

*
ใช่
ไม่ใช่
ไม่ทราบ
ภัยพิบัติ ได้แก่ น้ำท่วม ภัยแล้ง ไฟป่า ฝุ่นละอองขนาดเล็ก และรังสีความร้อน
ภัยพิบัติ เกิดได้ทุกที่และรุนแรงมากขึ้น
ภัยพิบัติ มีที่มาจากการกระทำของมนุษย์เป็นส่วนใหญ่
ภัยพิบัติ เกิดจากการกระทำของธรรมชาติเท่านั้น

3.3 ท่านรับรู้แนวทางการรับมือและบรรเทาผลกระทบจากภัยพิบัติอะไรบ้างจากการสื่อสารครั้งนี้ 

*
ใช่
ไม่ใช่
ไม่ทราบ
การจัดการภัยพิบัติเป็นหน้าที่และเกี่ยวกับทุกคน
ต้องมีพัฒนาตนเองให้มีความรู้และติดตามข่าวสารอยู่เสมอ
ต้องร่วมมือและร่วมแรงในการรับมือกับภัยพิบัติ
ต้องหยุดทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ต้องฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้
ต้องพัฒนาตนเองเพื่อให้พร้อมปรับตัวกับภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้น
ข้อเสนอแนะอื่น ๆ (ถ้ามี)
ขอขอบคุณทุกท่านที่สละเวลาในการตอบแบบสำรวจครั้งนี้ 
Submit
Clear form
Never submit passwords through Google Forms.
This form was created inside of MAHASARAKHAM UNIVERSITY. Report Abuse